“SME ประหยัดภาษีได้ไม่ยาก” : เศรษฐพงศ์ ผดุงพิสุทธิ์

ช่วงเวลานี้ (ปลายเดือนพฤษภาคมของทุกปี) ผู้ประกอบการหรือเจ้าของกิจการ ต้องเตรียมงบการเงินเพื่อยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้นิติบุคคลประจำปีกันใช่หรือไม่ครับ

ธุรกิจอยู่รอดได้ ต้องมีรายได้มากกว่าหนึ่ง แล้วทำไงล่ะ? : เศรษฐพงศ์ ผดุงพิสุทธิ์

ปัจจัยความเสี่ยงอันดับต้นๆ ของธุรกิจคือ รายได้ไม่ได้ตามเป้าหมาย ซึ่งมีหลายประเด็นซ่อนอยู่ ได้แก่ รายได้เป้าหมายที่ต้องการคืออะไร รายได้ไม่ถึงเป้าหมายเพราะเหตุใด แล้วมีทางใดจะทำให้รายได้เพิ่มขึ้น ดูจะเป็นปัญหาโลกแตกสำหรับผู้ประกอบการเสมอใช่ไหมครับ

เตรียมตัวอย่างไร ก่อนขอสินเชื่อธนาคาร : เศรษฐพงศ์ ผดุงพิสุทธิ์

ารขอสินเชื่อกับธนาคารเป็นกรณีที่แตกต่างกัน เงินที่ให้กู้ยืมของธนาคารนั้น มาจากเงินออมจากประชาชนทั่วไป และเงินออมเหล่านั้นเป็นต้นทุนที่ธนาคารจะต้องรักษาไว้ให้ดี และการจะนำเงินออมนั้นไปปล่อยเงินกู้หรือให้สินเชื่อ ธนาคารจึงจำเป็นจะต้องพิจารณาความเสี่ยงต่างๆ อย่างถี่ถ้วน นอกจากนี้ยังต้องรายงานผลการดำเนินงาน และทำตามประกาศ และกฎกติกาต่างๆ ของธนาคารแห่งประเทศไทย

ค่าใช้จ่ายอะไร ยิ่งลด รายได้ยิ่งหด : เศรษฐพงศ์ ผดุงพิสุทธิ์

ในสถานการณ์เศรษฐกิจผันผวนในแง่ลบ กำลังซื้อหดหาย ผู้ประกอบการ SME นอนก่ายหน้าผากเพราะรายได้หด และคิดว่าจะอยู่รอดต่อไปได้อย่างไรในสถานการณ์แบบนี้ หากศึกษาในทฤษฎีและมองบริษัทใหญ่ ๆ เขาทำกันคือการลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็นออกไป เพื่อรักษาเงินสดและความอยู่รอดของบริษัท

5 ปัญหาที่ธุรกิจขอสินเชื่อไม่ได้ : เศรษฐพงศ์ ผดุงพิสุทธิ์

ถึงแม้ว่าอยากจะขอสินเชื่อ แล้วจะได้สินค้าทุกรายไปนะครับ ประเด็นปัญหาที่ธุรกิจไม่สามารถขอสินเชื่อได้ ผมได้แบ่งออกเป็น 5 ประเด็นดังนี้

งบประมาณทางการเงิน ไม่ยาก ไม่ทำ ไม่ได้แล้ว : เศรษฐพงศ์ ผดุงพิสุทธิ์

งบประมาณทางการเงิน หรือ Budget คำที่ผู้ประกอบการ SME ได้ยินแล้วเข้าใจว่า ทำได้ยาก และให้ความสำคัญน้อยมาก เพราะคิดว่าไม่สามารถการคาดการณ์อนาคตได้ และมีปัจจัยความเสี่ยงต่างๆ ที่คาดเดาได้ยาก แล้วจะทำไปทำไมล่ะ

มูลค่าธุรกิจ คิดมาจากไหน: เศรษฐพงศ์ ผดุงพิสุทธิ์

ด้วยประสบการณ์ของการเป็นที่ปรึกษาด้านการเงินธุรกิจ รับผิดชอบประเมินมูลค่ากิจการ มูลค่าธุรกิจ และมูลค่าหุ้น ให้กับธุรกิจมาหลากหลายประเภท จุดประสงค์คือประเมินหามูลค่ายุติธรรม (Fair Value) ระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย และในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมามีการซื้อขายกิจการก

ต้องการเงินทุน จะก่อหนี้ หรือ จะเพิ่มทุน : เศรษฐพงศ์ ผดุงพิสุทธิ์

เจ้าของธุรกิจย่อมหวังผลตอบแทนจากการทำธุรกิจ หากมีเงินลงทุนส่วนตัวทำธุรกิจได้ (เงินลงทุนส่วนตัว บวกกับรายได้จากการดำเนินงาน ภาษาอังกฤษเรียกว่า Bootstrapping) ผลตอบแทนที่ได้มา จะไม่ต้องแบ่งใคร ดูเป็นเรื่องง่ายสินะครับ แต่เมื่อความฝันและปรารถนาอันยิ่งใหญ่ ธุรกิจต้องใช้เงินทุนสูงขึ้น และคาดหวังผลตอบแทนที่สูงมากขึ้นตามไปด้วย เงินลงทุนส่วนตัวอาจไม่เพียงพอ

ธุรกิจรายได้ดีไม่มีหด แล้วเงินสดหายไปไหน : อ.เศรษฐพงศ์ ผดุงพิสุทธิ์

คุณรู้หรือไม่ว่า กิจการแบบ SME สามารถบริหารเงินทุนหมุนเวียนได้โดยไม่ต้องมีสินเชื่อได้ เมื่อเราเข้าใจว่าวงจรเงินสดที่กล่าวมาข้างต้นมาอย่างไร อยากให้พิจารณาใช้วิธีดังต่อไปนี้