ยุทธศาสตร์การพัฒนาโลจิสติกส์ไทย : ดร. ฐาปนา บุญหล้า

เรื่องของระบบการขนส่งหรือโลจิสติกส์กำลังเป็นประเด็นสำคัญของการพัฒนาประเทศ ยิ่งเปิดเป็น AEC ขึ้นมาไทยเป็นศูนย์กลางการขนส่ง การพัฒนาโลจิสติกส์ย่ิงทวีความสำคัญ

สืบสานพระราชปณิธาน ร.๕ พาประเทศก้าวพ้นความล้าหลัง สู่ยุครุ่งเรืองด้าน Logistics : ฐาปนา บุญหล้า

ประเทศไทยโชคดี ที่มีพระมหากษัตริย์ทรงพระปรีชาสามารถล้ำเลิศ ตัดสินพระทัยให้พัฒนาระบบรถไฟตรงตามแบบแผนของเยอรมันทุกประการ เป็น Positive Selection จนไทยได้รับการยอมรับว่าเป็นประเทศแรกในเอเชีย และเป็นประเทศที่ 6 ของโลกที่ใช้ทางรถไฟมาตรฐานขนาด ๑.๔๓๕ เมตร

โลจิสติกส์ สร้างความอยู่รอดอย่างยั่งยืน : ฐาปนา บุญหล้า (ตอนที่ 2)

ความเต็มใจของผู้บริโภคที่ส่งผลสะท้อนการจ่ายเงินต่อความคุ้มค่าในผลิตภัณฑ์จำนวนมูลค่าสูงสุดของเงินที่ผู้บริโภคตั้งใจที่จะจ่ายเงินเป็นประเด็นสำคัญจากอรรถประโยชน์ของสินค้าที่ผู้บริโภคคาดหวังที่นำเสนอต่อเขา สิ่งสำคัญสูงสุดของผลปฏิบัติการบริการโลจิสติกส์

โลจิสติกส์ สร้างความอยู่รอดอย่างยั่งยืน : ฐาปนา บุญหล้า (ตอนที่ 1)

เป้าหมายสูงสุดของการดำเนินการจัดการโลจิสติกส์ธุรกิจตลอดโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์ (สินค้าและบริการ) คือเพื่อเพิ่มผลผลิตและสร้างความคงอยู่ในระยะยาวของทั้งองค์กรสมาชิกภายในกลุ่มคู่ค้า เพื่อที่จะบรรลุผลผลิตสูงสุดในระยะยาว

อนาคตรถไฟไทย : ดร. ฐาปนา บุญหล้า (ตอนที่ 2)

ความจำเป็นสูงสุดของประเทศไทยในการพัฒนาระบบราง คือการระงับแผนงานการดำเนินงานโครงการก่อสร้างทางรถไฟทั้งหมดตามตารางที่แนบ และปรับปรุงเส้นทางรถไฟจากขนาด 1 เมตร ให้เป็น 1.435 เมตร ทั่วประเทศโดยไม่ต้องหยุดการเดิน

อนาคตรถไฟไทย : ดร. ฐาปนา บุญหล้า (ตอนที่ 1)

ทำเลที่ตั้งภูมิศาสตร์ของไทย นับว่าเป็นศูนย์กลางคมนาคมทั้งทางบก ทางทะเล และทางอากาศ เป็นประตูการค้า(GATEWAY) ของภูมิภาคเอเชีย และของโลก เราจึงมีโอกาสที่จะใช้ประโยชน์จากระบบโลจิสติกส์ทั้งทางน้ำ ทางบก ระบบราง ตลอดจนการสื่อสารทางพื้นดินและทางอากาศ