“ผู้หญิง” ในบริบทของลอรีอัลและพีแอนด์จี : ภาวนา อรัญญิก

สนามรบระหว่างลอรีอัลและพีแอนด์จีไม่ได้จำกัดเฉพาะการแข่งขันกันเชิงการตลาดในตลาดผลิตภัณฑ์เพื่อความงามเท่านั้น แม้แต่ในกิจกรรมซีเอสอาร์ (Corporate Social Responsibility) ทั้งสองแบรนด์ก็ยังตีคู่กันมาโดยตลอด อย่างไรก็ดีในความเหมือนก็ยังมีความต่าง ซึ่งแต่ละแบรนด์ก็จะมีพันธกิจของตนเอง ทั้งสองแบรนด์ต่างมีเป้าหมายในการสร้างดาวคนละดวงที่ต่างกันไป

จุดเปลี่ยน ไฮเปอร์มาร์เก็ต เมื่อ เทสโก้ โลตัส-บิ๊กซี สร้างดาวคนละดวง : ภาวนา อรัญญิก

เป็นที่ทราบดีว่าหัวใจของไฮเปอร์มาร์เก็ตอยู่ที่ ”ราคาต่ำ” ซึ่งเคยใช้มัดใจผู้บริโภคได้เป็นอย่างดี แต่ด้วยพฤติกรรมและความต้องการของผู้บริโภคที่เปลี่ยนไปตามสภาพสังคมและเทคโนโลยี ประกอบกับบริบทของตลาดค้าปลีกที่มีความหลากหลายมากขึ้น ทำให้การแข่งขันทวีความรุนแรงขึ้นทุกขณะ

บทที่ 12 ทีมเวิร์กคือคำตอบสุดท้าย : ดร.สมฤดี ศรีจรรยา

บางครั้งต้องไปอยู่บริษัทเล็กๆ แต่งแข่งกับบริษัทใหญ่ เหมือนสมัยอยู่พรีเมียร์มาร์เก็ตติ้ง ช่วยกันทำน้ำมันพืชตราองุ่น ต้องสู้กับยักษ์ใหญ่ที่มีกำลังแข็งแกร่งกว่าทั้งการเงิน การตลาด และพนักงานขายเป็นกองทัพใหญ่ ไม่ว่าจะเป็นโลตัส ของลีเวอร์บราเธอร์ หรือ ทิพ ของดีทแฮล์ม และ กุ๊ก เจ้าตลาดกลุ่มล็อกเลย์

บทที่ 11 ครู โค้ช พี่เลี้ยง : ดร.สมฤดี ศรีจรรยา

คำว่าโค้ช หรือพี่เลี้ยงเป็นหน้าที่สำคัญของผู้บังคับบัญชาทุกคน เพราะการสั่งงานไปไม่ได้หมายความว่าทุกคนจะทำได้อย่างนั้น เราต้องคอยติดตามว่าสั่งแล้วเขาทำได้หรือเปล่า เขาทำไหวไหม เราใช้คนผิดงานหรือเปล่า เราไปไว้วางใจเขามากไปไหม เพราะบางคนก็ทำได้ดี เหมือนนักมวยที่สอนไปแล้วก็ทำได้ดี แต่บางคนเราก็ต้องคอยจี้ คอยติดตาม คอยแก้ทางให้ถ้าเกิดปัญหา