กระตุ้นการใช้จ่ายลดหย่อนภาษีปี 2558 : รัญชนา รัชตะนาวิน

ในช่วงปลายปี 2558 ที่ผ่านมา มาตรการภาษีเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ การยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับเงินได้ เท่าที่ได้จ่ายเป็นค่าซื้อสินค้าหรือค่าบริการในระหว่างวันที่ 25 – 31 ธันวาคม 2558 จากผู้ประกอบกิจการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ตามจำนวนที่จ่ายจริง

ทำไมทำธุรกิจถึงมีปัญหาเรื่องเงินสด? ตอนที่ 1 : ดร.รัญชนา รัชตะนาวิน

ช่วง 10 กว่าปีที่ผ่านมา มีโอกาสให้คำปรึกษาและลงพื้นที่สถานที่ประกอบการของเจ้าของกิจการจำนวนมาก พบปัญหาของผู้ประกอบการส่วนใหญ่ คือ (1) เรื่องของการหมุนเงินสด (2) กิจการมีกำไร แต่ทำไมไม่เห็นเงินสด (3) เงินสดไม่พอต่อค่าใช้จ่ายประจำ (4) ไม่มีเงินจ่ายชำระค่าสินค้า

ทำไมทำธุรกิจถึงมีปัญหาเรื่องเงินสด ตอนที่ 2 : ดร.รัญชนา รัชตะนาวิน

ปัญหาเรื่องเงินสดของกิจการยังคงเป็นปัญหาเรื้อรังที่ทุกๆ SMEs ไม่อยากให้เกิดขึ้น แต่ในทางปฏิบัติที่เกิดขึ้นจริงนั้น ยังคงไม่สามารถแก้ปัญหาได้ 100 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งอาจจะมีสาเหตุมาจากหลายๆ ประเด็น ผู้ประกอบการหรือเจ้าของธุรกิจสามารถนำปัญหาเบื้องต้นนี้ไปปรับใช้

ทำไมทำธุรกิจถึงมีปัญหาเรื่องเงินสด ตอนที่ 3 : ดร.รัญชนา รัชตะนาวิน

จากตอนที่ 2 การแก้ปัญหาเรื่องเงินสด คือ (1) แยกค่าใช้จ่ายส่วนตัวของเจ้าของกิจการกับค่าใช้จ่ายธุรกิจ (2) รายได้ที่ไม่มีจริง (3) ตกลงเงื่อนไขการจ่ายชำระและสร้างระบบการจ่ายชำระเงินเพื่อลดระยะเวลาการติดตามหนี้ และ (4) ส่งใบแจ้งหนี้อย่างด่วน ที่กล่าวไปแล้วก่อนในเดือนที่แล้ว สำหรับเดือนนี้ ตอนที่ 3 ทำไมทำธุรกิจถึงมีปัญหาเรื่องเงินสด ยังมีรายละเอียดของต้นเหตุและวิธีแก้ปัญหาเรื่องเงินสดของกิจการที่ต้องปรับวิธีแก้กันต่อ อาจจะเป็นเรื่องรายละเอียดที่เราอาจจะมองข้ามไป ลองมาดูกันต่อนะคะ

ช่วยเหลือ SME ตอน 1: รัญชนา รัชตะนาวิน

ช่วงนี้ มีโอกาสได้ลงพื้นที่ไปทำงานโครงการช่วยเหลือ SME ของภาครัฐตามจังหวัดต่างๆ ทำให้เห็นปัญหาธุรกิจในแต่ละพื้นที่ ถึงแม้ว่าผลิตภัณฑ์จะแตกต่างกัน แต่ปัญหาที่พบเจอกับเป็นเรื่องที่ไม่แตกต่างกัน ส่วนใหญ่ผลิตภัณฑ์ที่มีเกิดขึ้นจากภูมิปัญญาของคนท้องถิ่น สอดคล้องตามหลักภูมิศาสตร์ของแต่ละภูมิภาค ส่วนใหญ่ผลิตภัณฑ์จะมีจุดเด่นของตัวผลิตภัณฑ์ที่ธุรกิจอื่นลอกเลียนแบบได้ยาก

ช่วยเหลือ SME ตอน 2 ดร.รัญชนา รัชตะนาวิน

ต่อเนื่องจากการลงพื้นที่ไปทำงานโครงการช่วยเหลือ SME ของภาครัฐตามจังหวัดต่างๆ ปัญหาของธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็กที่ได้รับข้อมูลจากผู้ประกอบการ คือ เรื่องของการเงิน ซึ่งหนี้ไม่พ้นจากเรื่องเล็กๆ ที่ดูเหมือนว่าจะไม่ก่อให้เกิดปัญหา แต่ปรากฎผลให้เห็นเด่นชัดในเวลาถัดมาจากการดำเนินกิจการได้ไม่นาน

ธุรกิจของเราเป็นข้าวใหม่ปลามันหรือเปล่า โดยดร.รัญชนา รัชตะนาวิน

การเริ่มต้นดำเนินธุรกิจในช่วงแรกดูจะมีสีสันสดใส ทุกอย่างดูเหมือนจะมีความเป็นไปได้หมด ตลาดดูดี พนักงานมีพร้อมเต็มกำลัง โฆษณาประชาสัมพันธ์ลงไม่อั้น เตรียมผลิตเพื่อเตรียมพร้อมสำหรับลูกค้า

ลงทุนอสังหาฯ ฉบับ BRIC : ผศ.ดร.ภัทรพล เวทยสุภรณ์

ที่ผ่านมาผมมักจะพูดถึงที่มาที่ไปรวมทั้งการ “มีเหตุผล”+“มีขั้นตอน” ในการเกิดขึ้นของ “BRIC” หรือ “Budget Real Estate Investor Club” ก็ปรากฏว่ามีท่านผู้อ่านต่างก็ให้ความสนอกสนใจกันมามากมายพอสมควร ซึ่งก็น่าแปลกใจไม่น้อยครับที่ผมได้รับรู้

START UP อนาคต : ดร.วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์

บริษัทที่ให้เงินลงทุนใน start up มีมากขึ้นเรื่อยๆ และขยายตัวมาลงทุนแถบเอเซียนี้มาก
เพราะแถวนี้ ค่าตัวไม่สูง ความคิดสร้างสรรค์มีกันมาก บริษัทนักลงทุนของ สิงคโปร์ ฮ่องกง เองก็เปิดหา start up กันมากขึ้นเรื่อยๆ ส่วนในบ้านเรา AIS dtac และ TRUE ก็เริ่มมีโครงก

หัวใจของผู้ประกอบการ : ดร.วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์

เมื่อก่อนเราเชื่อกันว่า คนที่มีคุณสมบัติสามข้อนี้ ถ้าลงมือทำธุรกิจของตนเอง ก็จะประสบความสำเร็จกันได้ทุกคนแต่ในความเป็นจริง ผู้ประกอบการหน้าใหม่ในปัจจุบันก็ล้วนแล้วแต่มีไฟ มีไอเดีย แบบนี้กันทั้งนั้น บางคนเก็บเงิน สะสมความรู้ แล้วผันตัวมาเป็น SME บางคนจับมือ สร้างทีม นำไอเดียมาเป็น Start up แต่จากข้อมูล

1 2 3 4 5