โลจิสติกส์ สร้างความอยู่รอดอย่างยั่งยืน : ฐาปนา บุญหล้า (ตอนที่ 2)

ความเต็มใจของผู้บริโภคที่ส่งผลสะท้อนการจ่ายเงินต่อความคุ้มค่าในผลิตภัณฑ์จำนวนมูลค่าสูงสุดของเงินที่ผู้บริโภคตั้งใจที่จะจ่ายเงินเป็นประเด็นสำคัญจากอรรถประโยชน์ของสินค้าที่ผู้บริโภคคาดหวังที่นำเสนอต่อเขา สิ่งสำคัญสูงสุดของผลปฏิบัติการบริการโลจิสติกส์

โลจิสติกส์ สร้างความอยู่รอดอย่างยั่งยืน : ฐาปนา บุญหล้า (ตอนที่ 1)

เป้าหมายสูงสุดของการดำเนินการจัดการโลจิสติกส์ธุรกิจตลอดโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์ (สินค้าและบริการ) คือเพื่อเพิ่มผลผลิตและสร้างความคงอยู่ในระยะยาวของทั้งองค์กรสมาชิกภายในกลุ่มคู่ค้า เพื่อที่จะบรรลุผลผลิตสูงสุดในระยะยาว

ลงทุนอสังหาฯ ฉบับ BRIC : ผศ.ดร.ภัทรพล เวทยสุภรณ์

ที่ผ่านมาผมมักจะพูดถึงที่มาที่ไปรวมทั้งการ “มีเหตุผล”+“มีขั้นตอน” ในการเกิดขึ้นของ “BRIC” หรือ “Budget Real Estate Investor Club” ก็ปรากฏว่ามีท่านผู้อ่านต่างก็ให้ความสนอกสนใจกันมามากมายพอสมควร ซึ่งก็น่าแปลกใจไม่น้อยครับที่ผมได้รับรู้

START UP อนาคต : ดร.วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์

บริษัทที่ให้เงินลงทุนใน start up มีมากขึ้นเรื่อยๆ และขยายตัวมาลงทุนแถบเอเซียนี้มาก
เพราะแถวนี้ ค่าตัวไม่สูง ความคิดสร้างสรรค์มีกันมาก บริษัทนักลงทุนของ สิงคโปร์ ฮ่องกง เองก็เปิดหา start up กันมากขึ้นเรื่อยๆ ส่วนในบ้านเรา AIS dtac และ TRUE ก็เริ่มมีโครงก

อนาคตรถไฟไทย : ดร. ฐาปนา บุญหล้า (ตอนที่ 2)

ความจำเป็นสูงสุดของประเทศไทยในการพัฒนาระบบราง คือการระงับแผนงานการดำเนินงานโครงการก่อสร้างทางรถไฟทั้งหมดตามตารางที่แนบ และปรับปรุงเส้นทางรถไฟจากขนาด 1 เมตร ให้เป็น 1.435 เมตร ทั่วประเทศโดยไม่ต้องหยุดการเดิน

อนาคตรถไฟไทย : ดร. ฐาปนา บุญหล้า (ตอนที่ 1)

ทำเลที่ตั้งภูมิศาสตร์ของไทย นับว่าเป็นศูนย์กลางคมนาคมทั้งทางบก ทางทะเล และทางอากาศ เป็นประตูการค้า(GATEWAY) ของภูมิภาคเอเชีย และของโลก เราจึงมีโอกาสที่จะใช้ประโยชน์จากระบบโลจิสติกส์ทั้งทางน้ำ ทางบก ระบบราง ตลอดจนการสื่อสารทางพื้นดินและทางอากาศ

หัวใจของผู้ประกอบการ : ดร.วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์

เมื่อก่อนเราเชื่อกันว่า คนที่มีคุณสมบัติสามข้อนี้ ถ้าลงมือทำธุรกิจของตนเอง ก็จะประสบความสำเร็จกันได้ทุกคนแต่ในความเป็นจริง ผู้ประกอบการหน้าใหม่ในปัจจุบันก็ล้วนแล้วแต่มีไฟ มีไอเดีย แบบนี้กันทั้งนั้น บางคนเก็บเงิน สะสมความรู้ แล้วผันตัวมาเป็น SME บางคนจับมือ สร้างทีม นำไอเดียมาเป็น Start up แต่จากข้อมูล

Startup Corner : 3 เรื่องที่องค์กรใหญ่ต้องเรียนรู้จาก Startup : พงศ์พีระ ชวาลาธวัช

ส่วนตัวของผมเองเคยผ่านประสบการณ์ทำงานทั้งข้างในองค์กรและทำงานร่วมกับองค์กรข้ามชาติ องค์กรใหญ่ จนไปถึง SME และ Startup วันนี้เลยอยากมาเล่าให้ฟังว่าจังหวะในการทำงานในองค์กรต่าง ๆ ที่ผมพูดมานั้นจะว่าเหมือนก็เหมือนกัน จะว่าต่างก็ต่างกันครับ องค์ประกอบมันเยอะ คงตีกรอบไม่ได้ว่า ใหญ่ดีกว่าหรือเล็กดีกว่า

Startup Corner ตอนที่ 5 : 5 ขั้นตอนวิธีตรวจสอบ Startup Idea ของเราว่า Work หรือไม่ : พงศ์พีระ ชวาลาธวัช

เมื่อตอนที่แล้วเราคุยกันไปในเรื่องของวิธีการหาไอเดียใหม่ ๆ ซึ่งผมเข้าใจว่าเพื่อนๆ คงหาไอเดียมาได้เยอะแยะ แต่ว่าไอเดียไหนละที่เป็นไอเดียที่ถูกต้อง และสามารถเอามาทำ Startup ได้ ปกติแล้วผมจะแบ่งวิธีทดสอบไอเดียเป็นสามส่วน ซึ่งวันนี้จะว่าในส่วนแรกก่อน และ ตอนต่อไปจะตามด้วยส่วนที่ 2 และ 3 ครับ

Startup Corner : วิธีการใช้ Porter 5 Forces วิเคราะห์ความเป็นไปได้ของ Startup Idea : พงศ์พีระ ชวาลาธวัช

เมื่อตอนที่แล้วเราคุยกันไปในเรื่องของวิธีการวิเคราะห์ไอเดียต่าง ๆ ที่เราคิดได้ ซึ่งสามารถเอามาทำ Startup ได้ซึ่ง ปกติแล้วผมจะแบ่งวิธีทดสอบไอเดียเป็นสามส่วน ซึ่งวันนี้จะว่าในส่วนที่สองต่อเลยน่ะครับ

1 13 14 15 16 17 27