“ผู้หญิง” ในบริบทของลอรีอัลและพีแอนด์จี : ภาวนา อรัญญิก

สนามรบระหว่างลอรีอัลและพีแอนด์จีไม่ได้จำกัดเฉพาะการแข่งขันกันเชิงการตลาดในตลาดผลิตภัณฑ์เพื่อความงามเท่านั้น แม้แต่ในกิจกรรมซีเอสอาร์ (Corporate Social Responsibility) ทั้งสองแบรนด์ก็ยังตีคู่กันมาโดยตลอด อย่างไรก็ดีในความเหมือนก็ยังมีความต่าง ซึ่งแต่ละแบรนด์ก็จะมีพันธกิจของตนเอง ทั้งสองแบรนด์ต่างมีเป้าหมายในการสร้างดาวคนละดวงที่ต่างกันไป

จุดเปลี่ยน ไฮเปอร์มาร์เก็ต เมื่อ เทสโก้ โลตัส-บิ๊กซี สร้างดาวคนละดวง : ภาวนา อรัญญิก

เป็นที่ทราบดีว่าหัวใจของไฮเปอร์มาร์เก็ตอยู่ที่ ”ราคาต่ำ” ซึ่งเคยใช้มัดใจผู้บริโภคได้เป็นอย่างดี แต่ด้วยพฤติกรรมและความต้องการของผู้บริโภคที่เปลี่ยนไปตามสภาพสังคมและเทคโนโลยี ประกอบกับบริบทของตลาดค้าปลีกที่มีความหลากหลายมากขึ้น ทำให้การแข่งขันทวีความรุนแรงขึ้นทุกขณะ

ลีโอ-ร็อคเมาเท่น สงครามโซดาระลอกใหม่

“สิงห์” ครองตลาดโซดามายาวนานด้วยส่วนแบ่งตลาดกว่า 90% จากมูลค่าตลาด 7,500 ล้านบาท โดย“ช้าง”ตามมาห่างๆทว่าขณะนี้สถานการณ์ในตลาดโซดายังไม่สามารถฝ่าแนวลบไปได้โดยล่าสุดการขยายตัว -7% ซึ่งเป็นทิศทางเดียวกับตลาดสุราสีที่ติดลบมาต่อเนื่องเช่นกัน ทั้งนี้อัตราการบริโภคโซดาคู่กับสุราสีนั้นมีสัดส่วนสูงถึง 90 %ของตลาดโดยรวม

“โฮมโปร-โฮมเวิร์ค” จากสมรภูมิโฮมเซ็นเตอร์ สู่เวทีตกแต่งบ้าน : ภาวนา อรัญญิก

การขยายสู่ธุรกิจใหม่ที่ชัดเจนกว่าเดิมจึงเป็นการเพิ่มโอกาสทางการตลาด ขณะเดียวกันก็ยังเป็นการเสริมความแข็งแกร่งให้กับแบรนด์ในเครือที่มีเครือข่ายค้าปลีกด้านสินค้าสำหรับบ้านให้บริการตั้งแต่การสร้างบ้านจนถึงการตกแต่งอย่างครบวงจร

ทิปโก้-มาลี คู่ชิงตลาด Functional Juice

การเดินเกมด้วยการสร้างจุดขายใหม่ในตลาดน้ำผลไม้ที่ปรากฏในตลาดน้ำผลไม้ขณะนี้ เป้าหมายหลักอยู่ที่การกระตุ้นการขยายตัวเชิงมูลค่า เนื่องจาก1-2 ปีที่ผ่านมาการเติบโตของตลาดโดยรวมอยู่ในเกณฑ์ที่ไม่ดีนัก

เมื่อ เอส –บิ๊ก ต้องการรั้งตำแหน่งที่ 3 : ภาวนา อรัญญิก

ศึกประลองกำลังเพื่อชิงการเป็นอันดับ 3 ในตลาดน้ำอัดลมระหว่างบิ๊กและเอสที่มีระยะห่างของส่วนแบ่งตลาดอยู่ราว 2 % บิ๊ก เน้นใช้ยุทธศาสตร์ราคาและความหลากหลายของขนาดผลิตภัณฑ์ ส่วนเอสมุ่งสร้างฐานตลาดไปที่คนรุ่นใหม่ผ่านกิจกรรมทางการตลาดทั้งดนตรีและกีฬา

2 APP Chat รุกเจาะกระเป๋าเงินคนเมือง รับ Cashless เติบโต : ภาวนา อรัญญิก

ผู้ประกอบการต่างเชื่อมั่นว่า “โอกาส” ที่จะเข้าสู่สังคมไร้เงินสดอย่างเต็มรูปแบบ (Cashless) เป็นสิ่งที่เป็นไปได้ แม้ว่าทุกวันนี้คนไทยจะยังคงมีสัดส่วนการใช้เงินสดจะยังสูงอยู่มาก แต่โอกาสในการใช้จ่ายผ่านกระเป๋าเงินอิเลกทรอนิกส์กลับคืบคลานเข้าสู่ชีวิตประจำวันมากขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะไลฟ์สไตล์ของคนรุ่นใหม่ที่ติดกับดักของความ “เร่งรีบ” ในสังคมของเมืองใหญ่อยู่ไม่น้อย

1 2