ยุทธศาสตร์การพัฒนาโลจิสติกส์ไทย : ดร. ฐาปนา บุญหล้า

เรื่องของระบบการขนส่งหรือโลจิสติกส์กำลังเป็นประเด็นสำคัญของการพัฒนาประเทศ ยิ่งเปิดเป็น AEC ขึ้นมาไทยเป็นศูนย์กลางการขนส่ง การพัฒนาโลจิสติกส์ย่ิงทวีความสำคัญ

ทำไมทำธุรกิจถึงมีปัญหาเรื่องเงินสด ตอนที่ 2 : ดร.รัญชนา รัชตะนาวิน

ปัญหาเรื่องเงินสดของกิจการยังคงเป็นปัญหาเรื้อรังที่ทุกๆ SMEs ไม่อยากให้เกิดขึ้น แต่ในทางปฏิบัติที่เกิดขึ้นจริงนั้น ยังคงไม่สามารถแก้ปัญหาได้ 100 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งอาจจะมีสาเหตุมาจากหลายๆ ประเด็น ผู้ประกอบการหรือเจ้าของธุรกิจสามารถนำปัญหาเบื้องต้นนี้ไปปรับใช้

ทำไมทำธุรกิจถึงมีปัญหาเรื่องเงินสด ตอนที่ 3 : ดร.รัญชนา รัชตะนาวิน

จากตอนที่ 2 การแก้ปัญหาเรื่องเงินสด คือ (1) แยกค่าใช้จ่ายส่วนตัวของเจ้าของกิจการกับค่าใช้จ่ายธุรกิจ (2) รายได้ที่ไม่มีจริง (3) ตกลงเงื่อนไขการจ่ายชำระและสร้างระบบการจ่ายชำระเงินเพื่อลดระยะเวลาการติดตามหนี้ และ (4) ส่งใบแจ้งหนี้อย่างด่วน ที่กล่าวไปแล้วก่อนในเดือนที่แล้ว สำหรับเดือนนี้ ตอนที่ 3 ทำไมทำธุรกิจถึงมีปัญหาเรื่องเงินสด ยังมีรายละเอียดของต้นเหตุและวิธีแก้ปัญหาเรื่องเงินสดของกิจการที่ต้องปรับวิธีแก้กันต่อ อาจจะเป็นเรื่องรายละเอียดที่เราอาจจะมองข้ามไป ลองมาดูกันต่อนะคะ

สืบสานพระราชปณิธาน ร.๕ พาประเทศก้าวพ้นความล้าหลัง สู่ยุครุ่งเรืองด้าน Logistics : ฐาปนา บุญหล้า

ประเทศไทยโชคดี ที่มีพระมหากษัตริย์ทรงพระปรีชาสามารถล้ำเลิศ ตัดสินพระทัยให้พัฒนาระบบรถไฟตรงตามแบบแผนของเยอรมันทุกประการ เป็น Positive Selection จนไทยได้รับการยอมรับว่าเป็นประเทศแรกในเอเชีย และเป็นประเทศที่ 6 ของโลกที่ใช้ทางรถไฟมาตรฐานขนาด ๑.๔๓๕ เมตร

ช่วยเหลือ SME ตอน 1: รัญชนา รัชตะนาวิน

ช่วงนี้ มีโอกาสได้ลงพื้นที่ไปทำงานโครงการช่วยเหลือ SME ของภาครัฐตามจังหวัดต่างๆ ทำให้เห็นปัญหาธุรกิจในแต่ละพื้นที่ ถึงแม้ว่าผลิตภัณฑ์จะแตกต่างกัน แต่ปัญหาที่พบเจอกับเป็นเรื่องที่ไม่แตกต่างกัน ส่วนใหญ่ผลิตภัณฑ์ที่มีเกิดขึ้นจากภูมิปัญญาของคนท้องถิ่น สอดคล้องตามหลักภูมิศาสตร์ของแต่ละภูมิภาค ส่วนใหญ่ผลิตภัณฑ์จะมีจุดเด่นของตัวผลิตภัณฑ์ที่ธุรกิจอื่นลอกเลียนแบบได้ยาก

ช่วยเหลือ SME ตอน 2 ดร.รัญชนา รัชตะนาวิน

ต่อเนื่องจากการลงพื้นที่ไปทำงานโครงการช่วยเหลือ SME ของภาครัฐตามจังหวัดต่างๆ ปัญหาของธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็กที่ได้รับข้อมูลจากผู้ประกอบการ คือ เรื่องของการเงิน ซึ่งหนี้ไม่พ้นจากเรื่องเล็กๆ ที่ดูเหมือนว่าจะไม่ก่อให้เกิดปัญหา แต่ปรากฎผลให้เห็นเด่นชัดในเวลาถัดมาจากการดำเนินกิจการได้ไม่นาน

ธุรกิจของเราเป็นข้าวใหม่ปลามันหรือเปล่า โดยดร.รัญชนา รัชตะนาวิน

การเริ่มต้นดำเนินธุรกิจในช่วงแรกดูจะมีสีสันสดใส ทุกอย่างดูเหมือนจะมีความเป็นไปได้หมด ตลาดดูดี พนักงานมีพร้อมเต็มกำลัง โฆษณาประชาสัมพันธ์ลงไม่อั้น เตรียมผลิตเพื่อเตรียมพร้อมสำหรับลูกค้า

โลจิสติกส์ สร้างความอยู่รอดอย่างยั่งยืน : ฐาปนา บุญหล้า (ตอนที่ 2)

ความเต็มใจของผู้บริโภคที่ส่งผลสะท้อนการจ่ายเงินต่อความคุ้มค่าในผลิตภัณฑ์จำนวนมูลค่าสูงสุดของเงินที่ผู้บริโภคตั้งใจที่จะจ่ายเงินเป็นประเด็นสำคัญจากอรรถประโยชน์ของสินค้าที่ผู้บริโภคคาดหวังที่นำเสนอต่อเขา สิ่งสำคัญสูงสุดของผลปฏิบัติการบริการโลจิสติกส์

โลจิสติกส์ สร้างความอยู่รอดอย่างยั่งยืน : ฐาปนา บุญหล้า (ตอนที่ 1)

เป้าหมายสูงสุดของการดำเนินการจัดการโลจิสติกส์ธุรกิจตลอดโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์ (สินค้าและบริการ) คือเพื่อเพิ่มผลผลิตและสร้างความคงอยู่ในระยะยาวของทั้งองค์กรสมาชิกภายในกลุ่มคู่ค้า เพื่อที่จะบรรลุผลผลิตสูงสุดในระยะยาว

ลงทุนอสังหาฯ ฉบับ BRIC : ผศ.ดร.ภัทรพล เวทยสุภรณ์

ที่ผ่านมาผมมักจะพูดถึงที่มาที่ไปรวมทั้งการ “มีเหตุผล”+“มีขั้นตอน” ในการเกิดขึ้นของ “BRIC” หรือ “Budget Real Estate Investor Club” ก็ปรากฏว่ามีท่านผู้อ่านต่างก็ให้ความสนอกสนใจกันมามากมายพอสมควร ซึ่งก็น่าแปลกใจไม่น้อยครับที่ผมได้รับรู้

1 35 36 37 38 39 50