รำลึกวิกฤตต้มยำกุ้ง โดย รศ.ดร.สมชาย ภคภาสน์วิวัฒน์

สิ่งที่น่าสนใจคือวิกฤตดังกล่าวได้ให้บทเรียนแก่ไทยและประเทศอื่นในการป้องปรามหรือแก้ไขวิกฤตที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

การประชุมสุดยอด G20 โดย รศ.ดร.สมชาย ภคภาสน์วิวัฒน์

ในยุคของประธานาธิบดีทรัมป์นับเป็นครั้งแรกตั้งแต่หลังยุคสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่มีผู้นำแสดงท่าทีที่มีลักษณะไม่เป็นมิตรกับกลุ่มประเทศยุโรป ท่าทีดังกล่าวทรัมป์ได้แสดงออกมาในลักษณะโจมตีว่า NATO ล้าสมัย

ประวัติศาสตร์ชาติพันธุ์มนุษย์กับการปฏิวัติเทคโนโลยี โดย รศ.ดร.สมชาย ภคภาสน์วิวัฒน์

การสื่อสารจะออกมาในรูปของการพูดคุยและการซุบซิบนินทา (gossip) ผลจากการพูดคุยและการซุบซิบนินทานั้นด้านหนึ่งนำไปสู่การพัฒนาในเรื่องของการกิน เช่น บางคนบอกว่าสิ่งนั้นอร่อย สิ่งนี้อร่อย สัตว์นั้นกินได้ พืชชนิดนี้กินไม่ได้ เป็นต้น

ไทยกับเส้นทางสายไหมของจีน : รศ.สมชาย ภคภาสน์วิวัฒน์

โครงการ one belt, one road คือการสร้าง connectivity ที่เชื่อมโยง 3 ทวีปคือเอเชีย ยุโรปและแอฟริกา โดยครอบคลุมกลุ่มประเทศที่เรียกว่าโอเชียเนียด้วย การสร้างสาธารณูปโภคพื้นฐานเพื่อขยายไปสู่การค้า การลงทุน การท่องเที่ยวและโลจิสติกส์

ส่องปัจจัยฉุดเศรษฐกิจและการส่งออกไทยถดถอย : รศ.ดร.สมชาย ภคภาสน์วิวัฒน์

ในยุคนั้นการส่งออกมีมูลค่า 70-80% ของ GDP จึงไม่แปลกใจว่าการเติบโตในยุคนั้นถึงได้โตถึง 8-9% ดังที่กล่าวมา เศรษฐกิจไทยเริ่มแย่ลง เริ่มปรากฏสัญญาณขึ้นในปีค.ศ. 1996 ในปีนั้นการส่งออกติดลบเป็นครั้งแรกในรอบ 14 ปี

อนาคตของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ : รศ.ดร.สมชาย ภคภาสน์วิวัฒน์

เกือบ 30 ปีนับตั้งแต่สงครามเย็นสิ้นสุด การเปิดเสรีและการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจก็กลายเป็นปรากฏการณ์ที่แผ่ขยายและขยายวงในอัตราเร่งทั่วทุกภูมิภาค

เปิดห้องประชุม World Economic Forum ส่องอนาคตโลก

ในระหว่างวันที่ 17 – 20 มกราคมที่ผ่านมา มีการประชุม World Economic Forum ที่เมืองดาวอสประเทศสวิสเซอร์แลนด์ การประชุมครั้งนี้นับว่ามีความสำคัญมากด้วยเหตุผล 2 ประการ ประการแรก การประชุมครั้งนี้เป็นการประชุมต่อเนื่องจากปีที่แล้วที่คุยกันถึงอนาคตการเปลี่ยนแปลงของโลกภายใต้ชื่อ การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 (the 4th Industrial revolution) ซึ่งเป็นหัวข้อการประชุมที่ฮือฮาไปทั่วโลก

โลกยุค 3.5 : รศ.ดร.สมชาย ภคภาสน์วิวัฒน์

ในหนังสือ The 4th Industrial Revolution ซึ่งได้แบ่งยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมออกเป็น 4 ยุค คือ ยุคที่ 1 คือยุคที่มีการพัฒนาเครื่องจักรไอน้ำเมื่อประมาณ 200 ปีที่แล้ว ยุคที่ 2 คือยุคของการพัฒนาไฟฟ้า เมื่อประมาณ 100 ปีที่แล้ว ยุคที่ 3 คือยุคการสร้างคอมพิวเตอร์ เมื่อทศวรรษ 1960 และยุคที่ 4 ซึ่งกำลังจะเกิดขึ้นในอนาคตไม่ไกลนัก ซึ่งเป็นการพบกันระหว่างระบบดิจิตอล นาโนเทคโนโลยี และไบโอเทค ซึ่งจะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงของโลกอย่างมากมายมหาศาล

1 2