บทที่ 8 นายจ๋า เอาไงดีจ๊ะ : ดร.สมฤดี ศรีจรรยา

คำถามว่าจะจัดการกับคนไม่ใส่ใจการทำงานอย่างไรดี การเป็นผู้บังคับบัญชาถือเป็นเรื่องยากและท้าทายที่สุด เพราะจะต้องจัดการกับปัญหาเรื่องคนเป็นหลัก

ความอยู่รอดของธุรกิจยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง : รัญชนา รัชตะนาวิน

“ … การพัฒนาประเทศจำเป็นต้องทำตามลำดับขั้น ต้องสร้างพื้นฐานคือ ความพอมี พอกิน พอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่เบื้องต้นก่อน โดยใช้วิธีการและอุปกรณ์ที่ประหยัดแต่ถูกต้องตามหลักวิชาการ เมื่อได้พื้นฐานความมั่นคงพร้อมพอสมควร และปฏิบัติได้แล้ว จึงค่อยสร้างค่อยเสริมความเจริญ และฐานะทางเศรษฐกิจขั้นที่สูงขึ้นโดยลำดับต่อไป … ”

บทที่ 7 จินตนาการสร้างสรรค์ : ดร.สมฤดี ศรีจรรยา

“คนที่ถีบตัวเองให้พ้นจากความยากจน ไปสู่ความร่ำรวยได้เหมือนจรวดพุ่งพ้นแรงดึงดูดโลก ไปสู่จักรวาลอันกว้างใหญ่ ก็อยู่ที่แรงผลักของจินตนาการสร้างสรรค์ของตนเอง”

บทที่ 5 นักเรียนตลอดชีวิต : ดร.สมฤดี ศรีจรรยา

“การเรียนรู้มิได้สิ้นสุดที่โรงเรียนหรือมหาวิทยาลัย ที่แท้เราเพิ่งเริ่มต้นเรียนรู้จากชีวิตจริงหลังจบจากมหาวิทยาลัย”

บทที่ 4 ค้นหาตัวเราเอง : ดร.สมฤดี ศรีจรรยา

“วิเคราะห์ตัวเอง มองเห็นตัวเองในกระจก เห็นทั้งภายนอก เห็นทั้งภายใน เราก็คงจะแก้นิสัย แก้ศักยภาพ แก้อารมณ์ และความคิดในตัวเองได้เยอะทีเดียว”

บทที่ 6 ยิ้มกับปัญหา : ดร.สมฤดี ศรีจรรยา

“ใครก็ตามที่ออกจากบ้านแล้วไม่ยิ้ม…ก็เหมือนแต่งตัวยังไม่เสร็จ ภาพไม่เรียบร้อยใครเห็นก็ดูไม่สบายตา… ไม่สบายใจ…”

บทที่ 3 เป้าหมายชีวิต : ดร.สมฤดี ศรีจรรยา

“เป้าหมาย คือ จุดเริ่มต้นแห่งความสำเร็จ นักบริหารที่ดี จะต้องถือว่า เป้าหมายเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุดในการบริหารงาน”

บทที่ 2 ค่านิยมแห่งชีวิต : ดร.สมฤดี ศรีจรรยา

“ผู้นำดีมีคุณธรรมมีจริยธรรม องค์กรนั้นก็จะดีตาม ถ้าผู้นำมีมิจฉาทิฐิ องค์กรนั้นก็จะเอนเอียง และค่านิยมของคนทั้งองค์กรนั้น ก็จะบิดเบี้ยวตามไปด้วย”

บทที่ 1 นักล่าฝันเส้นทางสายรุ้ง : ดร.สมฤดี ศรีจรรยา

จำได้ว่าก๋งเคยสอนไว้น่าคิดว่า “เมื่อถึงเวลาไหน ให้ชักธงนั้น” เป็นเรื่องจริงที่ว่าเมื่อถึงเวลาไหนก็ให้ชักธงนั้น ไม่ต้องไปคิดหน้าคิดหลัง ถึงเวลามันมาเอง ก็ว่ากันไปตอนนั้น ถ้าจะต้องรบก็ต้องรบ ถ้าจะพักก็ต้องพัก

1 17 18 19 20 21 50