บูรพา-อาคเนย์ เมื่อสิงคโปร์จะสูญเสียความเป็นศูนย์กลาง : บัณรส บัวคลี่

มาเลเซียมีแนวทางพัฒนาประเทศตามแบบตัวเอง เน้นลงทุนใหญ่ๆ สาธารณูปโภค โครงการใหญ่ๆ ขนาดยอมถมทะเลสร้างหาดทรายเพื่อสร้างเกาะลังกาวีเป็นแหล่งท่องเที่ยวดูดเงินคนไทย แม้จะเป็นประเทศอิสลามแต่ก็สนิทสนมกับจีนค่อนข้างดี

5 ความกล้าที่ผู้นำทุกคนต้องมี : ดร.พยัต วุฒิรงค์

การทำงานในหน่วยงานเดียวกันให้สำเร็จก็ว่ายากแล้ว การทำงานที่ต้องใช้หลายหน่วยงาน หลากหลายศาสตร์มาทำงานร่วมกัน เพื่อสร้างสิ่งแปลกใหม่ที่ตอบโจทย์ได้มากกว่า ยิ่งยากขึ้น

พูดแบบ”นาย” : อ.สุขุม นวลสกุล

….พิธีกรงานแต่งงานประกาศลั่นงานว่า “บัดนี้ถึงเวลากินแล้วครับ เชิญเลือกกินได้ตามอัธยาศัย” แม้ความหมายชัดเจนแต่คนฟังย่อมเห็นว่าฟังขัดหูดูไม่ให้เกียรติ ว่าไหมครับ ยิ่งถ้าไปใช้คำว่า “แดก” เข้าละก็ มั่นใจได้เลยไม่มีใครลุกไปแดกแน่นอน ถ้าจะลุกขึ้นก็คงออกจากงานไปมากกว่า

เพิ่มลูกค้าใหม่ผูกใจลูกค้าเก่า : ดร.พนม ปีย์เจริญ

ทำให้ลูกค้าเห็นเรา รู้จักเรา มากยิ่งขึ้น กว้างยิ่งขึ้น ลึกยิ่งขึ้น โดยเฉพาะลูกค้ากลุ่มเฉพาะเจาะจงที่เราต้องการที่จะเข้าถึง เพราะเป็นลูกค้าในกลุ่มเป้าหมายทางการตลาดของเรา

เจ้าพ่อแฟรนไชส์ (ตอนที่ 4) : ดร.พีระพงษ์ กิติเวชโภคาวัฒน์

แฟรนไชส์ซีต้องมาก่อนบริษัทเสมอ อย่างนี้แหละครับกระบวนการบริหารของแมคจึงเน้นการสร้างนักธุรกิจในนามแมคอย่างพิถีพิถันและเอาใจใส่ต่อเนื่อง

เจ้าพ่อแฟรนไชส์ (ตอนที่ 3) : ดร.พีระพงษ์ กิติเวชโภคาวัฒน์

แฟรนไชส์ซีที่ซื้อธุรกิจไป ไม่เคยคิดว่าการวางระบบธุรกิจคือ หัวใจของการสร้างความสำเร็จให้ธุรกิจแฟรนไชส์ แต่คนอย่างเรย์ เขาเห็น และเขาเข้าใจว่าการทำงานอย่างมีแนวทางที่ดีคือ ต้นเหตุของผลที่เป็นความสำเร็จ

เจ้าพ่อแฟรนไชส์ (ตอนที่ 2) : ดร.พีระพงษ์ กิติเวชโภคาวัฒน์

คนที่ให้กำเนิดแฟรนไชส์ของแมคนั้นชื่อว่า เรย์ คอร์ค ที่ผมประทับใจกับหลายแนวคิดที่เขามีการสร้างระบบแฟรนไชส์ที่ดีให้กับนักลงทุนเขามักจะบอกเสมอว่า “ถ้าทุกคนคิดแต่จะทำงานเพื่อเงิน ความสำเร็จก็จะไม่เกิดขึ้นกับชีวิตของคุณหรอก”

เจ้าพ่อแฟรนไชส์ (ตอนที่ 1) : ดร.พีระพงษ์ กิติเวชโภคาวัฒน์

มหาวิทยาลัยการผลิตอาหารที่เรียกว่าแฮมเบอร์เกอร์แห่งแรกของโลกที่แมคสร้างขึ้นในอเมริกา ที่สร้างความแปลกใจให้กับคนที่ได้ฟังเรื่องแมคที่เห็นว่าการทำร้านอาหารง่ายๆ ขนาดนี้ต้องมีการฝึกอบรมมากขนาดนั้นทีเดียวหรือ

โลกยุค 3.5 : รศ.ดร.สมชาย ภคภาสน์วิวัฒน์

ในหนังสือ The 4th Industrial Revolution ซึ่งได้แบ่งยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมออกเป็น 4 ยุค คือ ยุคที่ 1 คือยุคที่มีการพัฒนาเครื่องจักรไอน้ำเมื่อประมาณ 200 ปีที่แล้ว ยุคที่ 2 คือยุคของการพัฒนาไฟฟ้า เมื่อประมาณ 100 ปีที่แล้ว ยุคที่ 3 คือยุคการสร้างคอมพิวเตอร์ เมื่อทศวรรษ 1960 และยุคที่ 4 ซึ่งกำลังจะเกิดขึ้นในอนาคตไม่ไกลนัก ซึ่งเป็นการพบกันระหว่างระบบดิจิตอล นาโนเทคโนโลยี และไบโอเทค ซึ่งจะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงของโลกอย่างมากมายมหาศาล

พร้อม หรือไม่? ประเทศไทย 4.0 (Thailand 4.0) : เสน่ห์ ศรีสุวรรณ

ประเทศไทย 3.0 เริ่มเมื่อคำขวัญประเทศไทยเพิ่มเติมเป็น “ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว ในอ่าวมีก๊าซ” เมื่อสามสิบกว่าปีที่แล้วที่ประเทศไทยเราขุดเจอก๊าซธรรมชาติปริมาณมากในอ่าวไทยพร้อมประกาศเข้าสู่ยุค “โชติช่วงชัชวาล”

1 18 19 20 21 22 50